สรุป (งานวิจัย) ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์
ตามแนวมอนเตสซอรี่ ปริญญานิพนธ์ ของ กมลรัตน์ กมลสุทธรูปแบบการเรียนรู้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ในห้องเรียนมอนเตสซอรี่ ควรด าเนินการ ดังต่อไปนี้ 1. จัดประสบการณ์ประสาทรับรู้ที่เป็นรูปธรรมด้วยภาษา 2. มีสัญลักษณ์การเขียนด้วยภาษา 3. ท าให้สัญลักษณ์การเขียนและภาษานั้นในรูปแบบของรูปธรรม 4. ปฏิบัติ 5. ทดสอบการปฏิบัติกิจกรรมของเด็กว่าเด็กได้เรียนรู้และเข้าใจอย่างถูกต้อง กิจกรรมคณิตศาสตร์ แบ่งออกเป็น 6 ชุดงาน คือ ชุดงาน 1 ต้องให้เด็กเรียนรู้ก่อน โดยล าพัง ชุดงาน 2 3 และ 4 เป็นการท างานควบคู่กันในแนวคู่ขนาน ชุดงาน 5 เป็นงานที่ท าหลังจากที่ท างานหมวดที่ 4 ได้เชี่ยวชาญแล้ว ชุดงาน 6 เป็นงานที่ให้กับเด็ก ก่อนที่เด็กจะไปสู่ระดับประถมศึกษา
ความส าคัญของคณิตศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัย มีผู้กล่าวถึงความส าคัญของคณิตศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัยสรุปได้ดังนี้ สิริมณี บรรจง (2549: 1-2) กล่าวถึง การ ให้ความส าคัญของคณิตศาสตร์ว่ามีส่วนส าคัญ อย่างยิ่งในชีวิตประจ าวันของเด็กปฐมวัย ซึ่งทั้งพ่อแม่และครูย่อมตระหนักถึงความส าคัญของ คณิตศาสตร์อยู่แล้วว่า ในการเล่นและการสื่อสารพูดคุยของเด็กนั้น มักจะมีเรื่องคณิตศาสตร์เข้ามา เกี่ยวข้องในชีวิตประจ าวันอยู่เสมอ จากค าพูดของเด็ กจะพบว่ามีการพูดถึงการเปรียบเทียบ การวัด และตัวเลขประโยคต่างๆ เหล่านี้ล้ วนน่าสนใจ และแสดงให้เห็นว่า มีการใช้ค าศัพท์ที่เกี่ยวกับ คณิตศาสตร์และความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ทั้งสิ้น อย่างไรก็ตามในชีวิตประจ าวันนั้น มี เด็กปฐมวัยและผู้ใหญ่จ านวนมากที่ไม่ชอบเรียนคณิตศาสตร์ เนื่องจากเรียนได้คะแนนไม่ดีหรือมี ประสบการณ์ที่ไม่ดีเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ แต่หารู้ไม่ว่าแท้จริงแล้วทุกคนต้องเกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ อยู่เสมอแม้ว่าจะไม่ต้องการก็ตาม เช่น เมื่อต้องใช้ทักษะคณิตศาสตร์ในชีวิตประจ าวันโดยอาจไม่ต้อง เกี่ยวข้องกับตัวเลขเลยก็ได้ เช่น ใช้ทักษะการวัดหรือกะระยะในการกระโดดข้ามท้องร่องข้างถนน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น